arthamandala.com

arthamandala.com

วาระ การ ประชุม มี อะไร บ้าง

ดังที่ท่านกล่าวไว้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความบริสุทธิ์ที่ตถาคต ไม่ต้องรักษา ๔ อย่างเหล่านี้ ๔ อย่างอะไรบ้าง ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตถาคต มีกายสมาจารบริสุทธิ์ ตถาคตไม่มีกายทุจริตที่จะพึงรักษาว่า ผู้อื่นอย่าได้รู้ สิ่งนี้ของเราเลย ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตถาคตมีวจีสมาจารบริสุทธิ์ตถาคตไม่มี วจีทุจริตที่จะพึงรักษาว่า ผู้อื่นอย่าได้รู้สิ่งนี้ของเราเลย ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตถาคตมีมโนสมาจารบริสุทธิ์ ตถาคตไม่มีมโนทุจริตที่จะพึงรักษาว่า ผู้อื่น อย่าได้รู้สิ่งนี้ของเราเลย ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตถาคตมีอาชีวะบริสุทธิ์ ตถาคต ไม่มีมิจฉาชีวะที่จะพึงรักษาว่า ผู้อื่นอย่าได้รู้สิ่งนี้ของเราเลย ดังนี้. บัดนี้ พระเถระเมื่อสรรเสริญพระคุณตามเป็นจริงของพระผู้มีพระ- ภาคเจ้า จึงกล่าวคำเป็นต้นว่า ภควา หิ ภนฺเต ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อนุปฺปนฺนสฺส ความว่า อันสมณะอื่นไม่เคยให้เกิดขึ้น ตั้งแต่ พระกัสสปสัมมาสัมพุทธเจ้า. บทว่า อสญฺชาตสฺส นี้ เป็นไวพจน์ของ บทว่า อนุปฺปนฺนสฺส นั่นเอง. บทว่า อนกฺขาตสฺส ได้แก่คนอื่นมิได้ แสดง. บทว่า ปจฺฉา สมนฺนาคตา ความว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จ ไปก่อนแล้ว พระสาวกมาประชุมกันภายหลัง. ดังนั้น พระเถระอาศัยพระอรหัต- มรรคนั่นแล สรรเสริญพระคุณ เพราะเหตุที่พระคุณทั้งหลายมีศีลเป็นต้น ของพระผู้มีพระภาคเจ้าทั้งหมดเมาแล้ว เพราะอาศัยพระอรหัตมรรคเท่านั้น.

โหลด เกม Roblox Zbing Z

อธิบายว่า พวกเธอจะติเตียนอะไร ๆ เราหรือ ถ้าพวกเธอจะติเตียนว่ากล่าว เราต้องการ ให้พวกเธอว่ากล่าว. ด้วยคำว่า กายิกํ วา วาจสิกํ วา นี้ พระองค์ปวารณา กายทวารและวจีทวารเท่านั้น มิได้ปวารณาถึงมโนทวาร. เพราะเหตุไร. เพราะ ปรากฏแล้ว. จริงอยู่ ในกายทวารและวจีทวารมีความผิดปรากฏ ในมโนทวาร มิได้ปรากฏ แม้เมื่อนอนอยู่บนเตียงเดียวกัน ถามว่า เธอคิดอะไร จึงทราบ วาระจิตได้. พระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้ทรงปวารณาถึงมโนทวาร เพราะความไม่ ปรากฏด้วยประการฉะนี้ มิใช่ไม่ทรงปวารณาเพราะไม่บริสุทธิ์. จริงอยู่ มโน- ทวารของพระผู้มีพระภาคเจ้า แม้เป็นพระโพธิสัตว์ ในคราวเป็นภูริทัตต์ ฉัททันต์ สังขบาลและธรรมบาลเป็นต้น ก็บริสุทธิ์. บัดนี้ไม่มีคำที่จะต้อง กล่าวในข้อนี้เลย. บทว่า เอตทโวจ ความว่า เพราะเธอดำรงอยู่ในตำแหน่งพระธรรม- เสนาบดี เธอรับหน้าที่ปกครองภิกษุสงฆ์ จึงได้กราบทูลอย่างนี้ บทว่า น โข มยํ ภนฺเต ความว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พวกข้าพระองค์ ไม่ติเตียนอะไร ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้า. บทว่า กายิกํ วา วาจสิกํ วา นี้ พระเถระกล่าวหมายเอาความบริสุทธิ์ ๔ อย่าง มีกายสมาจารที่บริสุทธิ์เป็นต้น ที่ไม่ต้องรักษา. จริงอยู่ พระผู้มีพระภาคเจ้ามิต้องทรงรักษาความบริสุทธิ์ ๔ อย่าง.

อรรถกถาปวารณาสูตร ในปวารณาสูตรที่ ๗ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:- บทว่า ตทหุ ตัดเป็น ตสฺมึ อหุ ความว่า ในวันนั้น. ชื่อว่า อุโบสถ เพราะเป็นที่เข้าจำ. บทว่า อุปวสนฺติ ความว่า เป็นผู้เข้า จำอยู่ด้วยศีล หรือด้วยอดข้าว. ก็วันอุโบสถนี้นั้น มี ๓ อย่างโดยแยกเป็นวัน ๘ ค่ำ วัน ๑๔ ค่ำ และวัน ๑๕ ค่ำ เพราะฉะนั้น เพื่อจะห้ามวันทั้ง ๒ ที่เหลือ จึงกล่าวว่า ปณฺณรเส. บทว่า ปวารณาย ได้แก่ ออกพรรษาปวารณาแล้ว. แม้คำว่า วิสุทฺธิปวารณา ดังนี้ ก็เป็นขอของปวารณานั้น. บทว่า นิสินฺโน โหติ ความว่า ในเวลาเย็น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงธรรมอันสมควร แก่กาล แก่บริษัทผู้มาประชุมกัน ทรงสรงพระวรกายที่ซุ้มน้ำ ทรงนุ่งห่ม ทำ สุคตมหาจีวรเฉวียงบ่า ประทับนั่งชมสิริแห่งมณฑลพระจันทร์ ที่ตั้งขึ้นใน ปุริมทิศ บนบวรพุทธอาสน์ที่เขาจัดไว้ อิงเสากลาง. บทว่า ตุณฺหีภูตํ ความว่า เป็นผู้นิ่งแต่ทิศที่ทรงแลดู. ในหมู่ภิกษุเหล่านั้น แม้รูปเดียวก็มิได้มีความคะนอง มือคะนองเท้า ทั้งหมดเงียบเสียงนั่งด้วยอิริยาบถสงบ. บทว่า อนุวิโลเกตฺวา ความว่า ทรงใช้พระเนตรที่มีประสาททั้ง ๕ ปรากฏชำเลืองดู. ศัพท์ว่า หนฺท เป็นนิบาต ลงในอรรถแห่งอุปสรรค. น อักษรในคำว่า น จ เม กิญฺจิ ครหถ นี้ ใช้ในอรรถแห่งคำถามว่า น จ กิญฺจิ ดังนี้.

อรรถกถา ปวารณาสูตร - วิกิซอร์ซ

ก็ในเวลาน้ำอุปมาด้วยผ้าเช็ดธุลี เด็กาจัณฑาลและภาชนะมันข้นมา ภิกษุผู้ปุถุชนไม่อาจเพื่ออดกลั้นน้ำตาไว้ได้, ธรรมสังเวชเกิดแก่ภิกษุผู้ ขีณาสพทั้งหลายแล้ว. เมื่อพระเถระกล่าวคุณของตนอยู่นั่นแล, ความ เร่าร้อนเกิดขึ้นในสรีระทั้งสิ้นของภิกษุผู้กล่าวตู่แล้ว. ทันใดนั้นแล ภิกษุ นั้นหมอบลงใกล้พระบาททั้งสองของพระผู้มีพระภาคเจ้า ประกาศโทษ ในเพราะความกล่าวตู่ ด้วยคำอันไม่จริงแสดงโทษล่วงเกินแล้ว. จิตของพระสารีบุตรเหมือนแผ่นดิน พระศาสดาตรัสเรียกพระเถระมาแล้ว ตรัสว่า " สารีบุตร เธอจง อดโทษต่อโมฆบุรุษนี้เสีย, ตลอดเวลาที่ศีรษะของเขา จักไม่แตกโดย ๗ เสี่ยง. " พระเถระนั่งกระโหย่งประคองอัญชลีกราบทูลว่า "พระเจ้าข้า ข้าพระองก์ยอมอดโทษต่อผู้มีอายุนั้น, และขอผู้มีอายุนั้นจงอดโทษต่อ ข้าพระองค์. ถ้าว่าโทษของข้าพระองค์มีอยู่. " ภิกษุทั้งหลายกล่าวว่า " ผู้มีอายุทั้งหลาย ท่านทั้งหลายจงดูความที่พระเถระมีคุณไม่ต่ำทราม, พระเถระไม่กระทำความโกรธหรือความประทุษร้าย แม้มีประมาณน้อย ในเบื้องบนของภิกษุผู้กล่าวตูด้วยมุสาวาทชื่อเห็นปานนี้ ตัวเองเทียวนั่ง กระโหย่งประคองอัญชลีให้ภิกษุนั้นอดโทษ. " พระศาสดาทรงสดับกถานั้นแล้วตรัสถามว่า "ภิกษุทั้งหลาย พวก เธอพูดอะไรกัน?

​ รายงานการประชุม สภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ ๔๖ (สมัยสามัญ) วันพฤหัสบดีที่ ๙ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๗๕ ฉบับสำนักการพิมพ์ ครั้งที่ ๑ ถึง ครั้งที่ ๕๙ (สมัยสามัญ) พ. ศ. ๒๔๗๕ ​ สารบัญ ครั้งที่ ๔๖/๒๔๗๕ คณะกรรมการราษฎรแถลงขอลาต่อที่ประชุมเพื่อออกจากตำแหน่งในคราวพระราชทานรัฐธรรมนูญ ๖๕๘–๖๕๙ หลวงประดิษฐ์มนูธรรมอ่านร่างคำกราบบังคมทูลพระกรุณาสนองพระราชปรารภพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยามเสนอที่ประชุม ๖๕๙–๖๖๓ ประธานสภาฯ แถลงเรื่องรายงานการประชุมครั้งที่ ๓๖/๒๔๗๕ ๖๖๓–๖๖๕ ​ รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร วันพฤหัสบดีที่ ๙ ธันวาคม พ. ๒๔๗๕ ณพระที่นั่งอนันตสมาคม เริ่มประชุมเวลา ๑๖.

ธัมมปทัฏฐกถา อรหันตวรรควรรณนา๖. เรื่องพระสารีบุตรเถระ - วิกิซอร์ซ

ด้วย เหตุนั้น พระคุณทั้งปวงย่อมเป็นอันท่านกล่าวแล้วแล. คำว่า อหญฺจ โข ภนฺเต นี้ พระเถระกล่าวปวารณาสมาจารทางกาย ทางวาจาทั้งของตนทั้งของสงฆ์ ต่อพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เป็นอัครบุคคลในโลกพร้อมทั้งเทวโลก. บทว่า ปิตรา ปวตฺติตํ ความว่า เมื่อพระเจ้าจักรพรรดิสวรรคต หรือทรงผนวชล่วงไป ๗ วัน จักรย่อมอันตรธาน ต่อจากนั้น เมื่อพระโอรส ทรงนั่งบำเพ็ญจักรวัตติวัตรสิบอย่างหรือสิบสองอย่าง จักรอื่นย่อมปรากฏ พระโอรสนั้นทรงให้จักรนั้นเป็นไป แต่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทำจักรนั้นแหละ ให้เป็นวัตรเพราะมีอรรถอย่างเดียวกัน เหตุสำเร็จด้วยรัตนะ. ตรัสว่า ปิตรา ปวตฺติตํ ดังนี้. อีกอย่างหนึ่ง เพราะเหตุที่พระโอรสนั้นตรัสว่า ขอพระองค์ จงเป็นผู้ขวนขวายน้อยเถิด ข้าพระองค์จักปกครอง ดังนี้ ฉะนั้น จึงชื่อว่า ย่อมปกครองอาณาจักรที่พระบิดาปกครอง. บทว่า สมฺมเทว อนุปวตฺเตสิ ความว่า จงให้เป็นไปตามโดยชอบ คือโดยนัย โดยเหตุ โดยการณะนั่นแล. ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสธรรมคือ อริยสัจ ๔ พระเถระก็กล่าวตามธรรมคือ อริยสัจ ๔ นั้นนั่นแหละ. เหตุนั้น จึงตรัสอย่างนี้. บทว่า อุภโตภาควิมุตฺตา ความว่า พ้นด้วยส่วนทั้ง ๒ คือพ้นจากรูปกายด้วยอรูปาวจรสมาบัติ พ้นจาก นามกายด้วยอริยมรรค.

เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า "กถาชื่อนี้พระเจ้าข้า" ตรัสว่า "ภิกษุทั้งหลาย ใคร ๆ ไม่อาจให้ความโกรธหรือความประทุษ- ร้ายเกิดขึ้นแก่ภิกษุผู้เช่นกับสารีบุตรได้. ภิกษุทั้งหลาย จิตของสารีบุตร เช่นกับด้วยแผ่นดินใหญ่ เช่นกับเสาเขื่อนและเช่นกับท้วงน้ำใส" เมื่อ จะทรงสืบอนุสนธิแสดงธรรม จึงตรัสพระคาถานี้ว่า:- ๖. ปฐวีสโม โน วิรุชฺฌติ อินฺทขีลูปโม ตาทิ สุพฺพโต รหโทว อเปตกทฺทโม สํสารา น ภวนฺติ ตาทิโน. "ภิกษุใด เสมอด้วยแผ่นดิน เปรียบด้วยเสา เขื่อน คงที่ มีวัตรดี มีกิเลสดังเปือกตมไปปราศแล้ว เหมือนห้วงน้ำปราศจากเปือกตม ย่อมไม่ (ยินดี) ยินร้าย, สงสารทั้งหลายย่อมไม่มีแก่ภิกษุนั้น ผู้คงที่. " แก้อรรถ เนื้อความแห่งพระคาถานั้น ดังนี้:- ภิกษุทั้งหลาย ชนทั้งหลายย่อมทิ้งของสะอาดมีของหอมและระเบียบ ดอกไม้เป็นต้นบ้าง ย่อมทิ้งของไม่สะอามีมูตรและกรีสเป็นต้นบ้าง ลง ในแผ่นดิน.

รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 46/2475 - วิกิซอร์ซ

๖. เรื่องพระสารีบุตรเถระ [๗๖] ข้อความเบื้องต้น พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ในพระเชตวัน ทรงปรารภพระสารีบุตร- เถระ ตรัสพระธรรมเทศนานี้ว่า "ปฐวีสโม" เป็นต้น. พระสารีบุตรถูกภิกษุรูปหนึ่งฟ้อง ความพิสดารว่า ในสมัยหนึ่ง ท่านพระสารีบุตร ออกพรรษาแล้ว ใคร่จะหลีกไปสู่ที่จาริก จึงทูลลาพระผู้มีพระภาคเจ้า ถวายบังคมแล้ว ออกไปกับด้วยบริวารของตน. ภิกษุทั้งหลายมากแม้อื่นตามส่งพระเถระ แล้ว. ก็พระเถระปราศรัยกะภิกษุทั้งหลายผู้ปรากฏอยู่ ด้วยสามารถชื่อ และโคตร ตามชื่อและโคตรแล้วจึงบอกให้กลับ. ภิกษุผู้ไม่ปรากฏ ด้วยสามารถชื่อและโคตรรูปใดรูปหนึ่ง คิดว่า "โอหนอ พระเถระ น่าจะยกย่องปราศรัยกะเราบ้าง ด้วยสามารถชื่อและโคตร แล้วพึงให้กลับ. " พระเถระไม่ทันกำหนดถึงท่าน ในระหว่างแห่งภิกษุสงฆ์เป็นอันมาก. แม้ ภิกษุนั้นผูกอาฆาตในพระเถระว่า "พระเถระไม่ยกย่องเรา เหมือนภิกษุ ทั้งหลายอื่น. " มุมสังฆาฏิแม้ของพระเถระถูกสรีระของภิกษุนั้นแล้ว. แม้ ด้วยเหตุนั้น ภิกษุนั้นก็ผูกอาฆาตแล้วเหมือนกัน. ภิกษุนั้นรู้ว่า " บัดนี้ พระเถระจักล่วงอุปจารวิหาร" จึงเข้าไปเฝ้าพระศาสดากราบทูลว่า "พระ- เจ้าข้า ท่านพระสารีบุตรประหารข้าพระองค์เหมือนทำลายหมวกหู ไม่ยัง ข้าพระองค์ให้อดโทษแล้ว หลีกไปสู่ที่จาริก" ด้วยสำคัญว่า "เป็น อัครสาวกของพระองค์. "

ก็ห้วงน้ำที่มีเปือกตมไปปราศแล้ว เป็นห้วงน้ำใส ฉันใด; ภิกษุผู้ขีณาสพนั้น ชื่อว่ามีเปือกตมไปปราศแล้ว ด้วยเปือกตม ทั้งหลายมีเปือกตมคือราคะเป็นต้น เพราะความเป็นผู้มีกิเลสไปปราศแล้ว ย่อมเป็นผู้ผ่องใสเทียว ฉันนั้น. บทว่า ตาทิโน ความว่า ก็ชื่อว่าสงสารทั้งหลาย ด้วยสามารถ แห่งการท่องเที่ยวไปในสุคติและทุคติทั้งหลาย ย่อมไม่มีแก่ภิกษุนั้น คือ ผู้เห็นปานนั้น. ในเวลาจบเทศนา ภิกษุ ๙ พันรูปบรรลุพระอรหัตพร้อมด้วย ปฏิสัมภิทาทั้งหลาย ดังนี้แล. เรื่องพระสารีบุตรเถระ จบ. ดูเพิ่ม [ แก้ไข] ธรรมบท - อรหันตวรรค

บทว่า ปญฺญาวิมุตฺตา ได้แก่หลุดพ้นด้วยปัญญา. คือ เป็นพระขีณาสพผู้ยังมิได้วิชชา ๓ เป็นต้น. บทว่า วิสุทฺธิยา ได้แก่ เพื่อต้องการความบริสุทธิ์. บทว่า สญฺโญชนพนฺธนจฺฉิทา ได้แก่ ตัดกิเลส กล่าวคือเครื่องประกอบ และกิเลส กล่าวคือเครื่องผูกได้. บทว่า วิชิตสงฺคามํ ได้แก่ ชนะสงความคือ ราคะ โทสะ โมหะ. แม้ชนะกองทัพมาร ก็ชื่อว่าชนะสงความ บทว่า สตฺถวาหํ ความว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า ชื่อว่า สัตถวาหะ เป็นผู้นำหมู่ เพราะทรง นำหมู่เวไนยสัตว์ ยกขึ้นบนรถคือมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ ให้ข้ามสังสารวัฏ. ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้นำหมู่นั้น. บทว่า ปลาโป ได้แก่ภายในว่างเปล่า คือ ทุศีล. ด้วยบทว่า อาทิจฺจพนฺธุนํ นี้ ท่านพระวังคีสะกล่าวว่า ข้าพระองค์ ขอถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เป็นเผ่าพันธุ์พระอาทิตย์ เป็นศาสดาผู้ทรง ทศพลญาณ ดังนี้. จบอรรถกถาปวารณาสูตรที่ ๗ ดูเพิ่ม [ แก้ไข] ปวารณาสูตร

  1. กล้วย น้ํา ว้า ทํา อาหาร อะไร ได้ บ้าง
  2. ทดสอบ o net ป 6 2561 super
  3. รู้หรือไม่ว่ามีเงิน 5,000 บาท สามารถลงทุนทำอะไรได้บ้าง?
  4. Civic fd type r มือ สอง model
  5. ข่าว ข้น คน เน ชั่ น เปลี่ยน พิธีกร

arthamandala.com, 2024