arthamandala.com

arthamandala.com

อาการ โรค ชิ คุ น กุน ยา ใน ผู้ใหญ่

ในปี 2562 สถิติกรมควบคุมโรคเผยว่า ไทยป่วยเป็น "โรคชิคุนกุนยา" แล้ว 3, 506 ราย นับตั้งแต่ต้นปี 2562 สูงกว่าในรอบ 5 ปีที่ผ่านมาถึง 142 เท่า!! จึงเป็นเรื่องสำคัญมากที่เราต้องรู้จักระมัดระวังภัยจากโรคนี้ โดยเฉพาะในฤดูฝน เรามาทำความรู้จักกันดีกว่า ว่าเจ้าโรคชิคุนกุนยา มีสาเหตุ อาการ และวิธีรักษาอย่างไร โรคชิคุนกุนยา คืออะไร? โรคชิคุนกุนยา หรือ โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (Chikungunya) คำว่า ชิคุนกุนยา มาจากภาษาถิ่นอาฟริกา ที่หมายความถึง อาการบิดเบี้ยวของข้อ ทั้งนี้เพราะโรคนี้ มีอาการสำคัญ คือ ข้อบวม และข้ออักเสบ จนเกิดการผิดรูป โดยโรคมีรายงานครั้งแรกในช่วง พ. ศ. 2495-2496 จากประเทศทานซาเนีย เป็นโรคติดเชื้อไวรัส ชื่อชิคุนกุนยาไวรัส ที่มียุงลายสวน และยุงลายบ้าน เป็นพาหะนำโรค โดยมีระยะฟักตัว 2 – 5 วัน (ยุงลายเป็นพาหะที่นำโรคมาสู่คน 2 โรค คือโรคไข้เลือดออก และ โรคติดเชื้อชิคุนกุนยา) ในประเทศไทย พบโรคไข้ปวดข้อยุงลายครั้งแรกในกรุงเทพฯ ในปี พ. 2501 ซึ่งปัจจุบัน พบโรคนี้ได้ในทุกภาค และมีการระบาดหลายครั้งในประเทศไทย รวมทั้งในช่วง พ. 2551-2552 ซึ่งพบมีการระบาดมากในภาคใต้ของไทย โรคชิคุนกุนยา มีสาเหตุจากอะไร ติดต่อได้อย่างไร?

ชิคุนกุนยา โรคชิคุนกุนยา chikungunya ที่มากับยุงลาย

ดื่มน้ำมาก ๆ และนอนหลับพักผ่อนให้มากที่สุด อย่างน้อย 8 ชั่วโมง / วัน 3. มีรายงานการใช้ยาบางชนิดที่รักษาโรคมาลาเรีย (โรคไข้จับสั่น) อาจช่วยรักษาอาการอักเสบของข้อจากโรคนี้ได้ 4. ผู้ใกล้ชิดควรอยู่ให้กำลังผู้ป่วย เพราะ กำลังใจจะช่วยให้ผู้ป่วยจิตใจดีขึ้นได้ โดยเฉพาะกับเด็ก ๆ ผู้ปกครองควรดูแลใกล้ชิด ควรพบแพทย์ เมื่อมีไข้สูง ร่วมกับมีผื่นแดงที่ผิวหนัง ควรรีบพบแพทย์ ภายใน 1-3 วัน เพื่อแยกจากโรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา แตกต่างกับไข้เลือดออกอย่างไร? นายแพทย์สมเกียรติ ลลิตวงศา ผู้อำนวยการโรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กล่าวว่า โรคชิคุนกุนยา มีความแตกต่างจาก โรคไข้เลือดออก โดยโรคชิคุนกุนยา จะไม่มี… ไม่มีเกล็ดเลือดต่ำอย่างมากจนมีเลือดออกรุนแรง ไม่มีผนังเส้นเลือดฝอยผิดปกติอย่างมากจนมีสารน้ำรั่วจากเส้นเลือดอย่างรุนแรง ซึ่งทำให้ความดันโลหิตต่ำ และเกิดอาการช็อก ไม่เป็นอันตรายถึงชีวิตอย่างโรคไข้เลือดออก มาตราการ 3 เก็บ ป้องกันโรคชิคุนกุนยา 1. เก็บบ้านให้สะอาด โปร่ง โล่ง ไม่ให้มีมุมอับทึบเป็นที่เกาะพักของยุง 2. เก็บขยะ เศษภาชนะไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง 3. เก็บน้ำ ภาชนะที่ใส่น้ำจะต้องปิดฝาให้มิดชิด หรือหมั่นทำความสะอาด เปลี่ยนถ่ายน้ำ ใส่ทราย หรือแบคทีเรียกำจัดลูกน้ำป้องกันไม่ให้ยุงลายมาวางไข่ ซึ่งจะสามารถป้องกันได้ถึง 3 โรค คือ โรคชิคุนกุนยา โรคไข้เลือดออก และโรคติดเชื้อ ไวรัสซิกา สุดท้ายนี้ อย่าลืมดูแลสุขภาพ ด้วยการหมั่นออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพื่อเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง ทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ดื่มน้ำสะอาดวันละ 8 แก้ว และสำคัญสุด อย่าปล่อยให้ตัวเองโดนยุงกัดได้โดยง่าย!

aegypti เป็นพาหะที่สำคัญ ระบาดวิทยาของโรคมีรูปแบบคล้ายคลึงกับโรคติดเชื้อที่นำโดย Ae. aegypti อื่นๆ ซึ่ง อุบัติการของโรคเป็นไปตามการแพร่กระจายและความชุกชุมของยุงลาย หลังจากที่ตรวจพบครั้งแรกในประเทศไทย ในปี 2501 ที่กรุงเทพมหานคร และมีการระบาดอีก ในปี พ. 2531 ที่สุรินทร์ ปี พ. 2534 ที่ขอนแก่นและ ปราจีนบุรี ปี 2536 ที่เลย นครศรีธรรมราช และ หนองคาย และล่าสุด ตุลาคม 2551 ที่จังหวัดนราธิวาส ยะลา และ ปัตตานีและมีรายงานจากประเทศต่างๆ ในทวีปเอเชีย ได้แก่ เขมร เวียตนาม พม่า ศรีลังกา อินเดีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ โรคนี้จะพบมากในฤดูฝน เมื่อประชากรยุงเพิ่มขึ้นและมีการติดเชื้อในยุงลายมากขึ้น พบโรคนี้ได้ในทุกกลุ่ม อายุ ซึ่งต่างจากไข้เลือดออกและหัดเยอรมันที่ส่วนมากพบในผู้อายุน้อยกว่า 15 ปี ในประเทศไทยพบมีการระบาด ของโรคชิคุนกุนยา 6 ครั้ง ในปี พ. 2531 ที่จังหวัดสุรินทร์ พ. 2534 ที่จังหวัดขอนแก่นและปราจีนบุรี ในปี พ. 2536 มีการระบาด 3 ครั้งที่จังหวัดเลย นครศรีธรรมราช และหนองคาย ยุ่งลาย | การป้องกันโรค | อาการของโรค | ข้อแตกต่างของโรค | โรคชิคุนกุนยา | การรักษา

โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (โรคชิคุนกุนยา) - Thaihealth.or.th | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

รคชิคุนกุนยา 2. Continue Reading

ศ.

ชิคุนกุนยา คืออะไร? ข้อมูลโรค อาการ รักษา | HD สุขภาพดี เริ่มต้นที่นี่

  1. ลูกฉันเป็นไข้เลือดออก หรือชิคุนกุนยา? แล้วโรคชิคุนกุนยา คือโรคอะไร?
  2. แยกได้อย่างไรว่า เป็นไข้เลือดออกหรือเป็นโรคชิคุนกุนย่า
  3. โรคชิคุนกุนยา คือ สาเหตุ อาการ การดูแลรักษาและป้องกัน
  4. ไข้เลือดออกและโรคชิคุณกุนย่า
เชฟ โร เลต เก๋ง สปอร์ต

arthamandala.com, 2024